วันพุธที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2556

บันทึกการเรียนการสอนครั้งที่16

วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2556

เวลา 08.30-12.20 น
 
กิจกรรม
  • อาจารย์ให้ไปลิ้งค์วิจัย 5 บท ใส่ลงในบล๊อค
  • เพื่อนกลุ่มหน่วยไข่สอนหน้าชั้น
  • เพื่อนหน่วยโรงเรียนของฉันสอนหน้าชั้น
  • กลุ่มดิฉันออกสอนหน่วยน้ำ
  • อาจารย์แสดงความคิดเห็นและข้อปรับปรุงแก้ไขและเพิ่มเติมให้ทุกกลุ่มที่ออกมาสอนวันนี้
ภาพกิจกรรม
 
 
 
กลุ่มที่1 หน่วยไข่



 
 
    กลุ่มที่2 หน่วยไข่
     
กลุ่มที่3 หน่วยโรงเรียนของฉัน
 
กลุ่มที่4 หน่วยน้ำ (กลุ่มดิฉัน)
 
สอนสถานะของน้ำ
 
เล่านิทานประโยชน์ของน้ำ
 

บันทึกการเรียนการสอนครั้งที่15

วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2556

เวลา 08.30-12.20 น
 
กิจกรรม
 
-เพื่อนกลุ่มหน่วยสัตว์สอนหน้าชั้น
 
 
 
- อาจารย์แสดงความคิดเห็น บอกข้อแก้ไขและเพิ่มเติมตามมาตราฐานการเรียนรู้คณิตศาสร์
 



 

วันอังคารที่ 5 มีนาคม พ.ศ. 2556

บันทึกการเรียนการสอนครั้งที่14

วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2556

เวลา 08.30-12.20 น
 
กิจกรรม 
 
กิจกรรมหลัก 6 กิจกรรม
1. กิจกรรมเสริมประสบการณ์(วงกลม)
2. กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
3. กิจกรรมศิลปะ
4. กิจกรรมเกมการศึกษา
5. กิจกรรมเสรี/เล่นตามมุม
6. กิจกรรมกลางแจ้ง
 
เพื่อนกลุ่มหน่วยครอบครัวของฉันสอนหน้าชั้น
 
 
 
เพื่อนกลุ่มหน่วยผลไม้สอนหน้าชั้น
 

บันทึกการเรียนการสอนครั้งที่13

วันที่ 30  มกราคม 2556

เวลา 08.30-12.20 น
 
กิจกรรม
 
- อาจารย์พูดเรื่องการจัดนิทรรศการที่คณะเราจะจัดขึ้นและให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็นว่าเราน่าจะมีอะไรไปจัดและจะแสดงอะไร?
1. บทบาทสมมุติ
2. เล่านิทาน
3.เต้น
4.ร้องเพลง
5.รำ
6.นิทานเวที
7.เกม
-   นำมาแยกประเภทที่ต้องใช้สื่อและไม่ใช้สื่อ

 

บันทึกการเรียนการสอนครั้งที่12

วันที่ 23 มกราคม 2556

เวลา 08.30-12.20 น
 
กิจกรรม
 
  • ส่ง Mind map  หน่วยน้ำให้อาจารย์แนะนำสิ่งที่ควรแก้ไขและเพิ่มเติม
  • อาจารย์ให้เขียนแผนการสอนในแต่ละวันที่แต่ละคนได้รับมอบหมายในกลุ่ม
      -วันจันทร์ คือ ลักษณะของน้ำ
      -วันอังคาร คือ วิเคราะห์และเปรียบเทียบน้ำส้มกับน้ำเปล่า
      -วันพุธ คือ ประโยชน์ของน้ำ
      -วันพฤหัสบดี คือ โทษของน้ำ
      -วันศุกร์ คือ การดูแลรักษาน้ำ

 
 
 

บันทึกการเรียนการสอนครั้งที่11

วันที่ 16 มกราคม 2556

เวลา 08.30-12.20 น
 
กิจกรรมวันครู
 
รอพระสงค์มาเทศนา
 
 

บันทึกการเรียนการสอนครั้งที่10

วันที่ 9 มกราคม 2556

เวลา 08.30-12.20 น

กิจกรรม
 
  •  ศาสตร์ที่นำไปประยุกย์ใช้กับเด็ก
  •  การจัดประสบการณืจะต้องคำนึงถึงอายุของเด็ก
  • การสอนคณิตศาสตร์หรือการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมให้แก่เด็กปฐมวัยนั้น ควรมีลักษณะดังนี้
      1. จัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับชีวิตประจำวัน
      2. จัดประสบการณ์ที่ทำให้เด็กได้ค้นพบคำตอบด้วยตนเอง
      3. มีการวางแผนอย่างดีและมีจุดมุ่งหมาย
      4. คำนึกถึงการเรียนรู้และลำดับขั้นของการพัฒนาความคิดรวบยอดของเด็ก
      5. สังเกตพฤติกรรมในการเรียนรู้ของเด็ก
      6. ใช้ประสบการณ์เดิมของเด็ก ในการสอนประสบการณ์ใหม่ และสถานการณ์ใหม่ๆ
      7. รู้จักใช้สถานการณ์ในขณะนั้นให้เป็นประโยชน์
      8. ใช้วิธีการสอดแทรกกับชีวิตประจำวัน
      9. ให้เด็กมีส่วนร่วมหรือปฏิบัติจริงเกี่ยวกับตัวเลข
    10. ส่งเสริมให้เด็กเรียนรู้ทั้งที่โรงเรียนอย่างต่อเนื่อง
    11. แก้ไขปัญหาการเรียนรู้ของเด็กอย่างสม่ำเสมอ
    12. ควรสอนความคิดรวบยอดในและครั้ง
    13. แก้ไขปัญหาการการเรียนรู้ที่ได้จากการเล่นจากง่ายไปหายาก
    14. ครูควรสอนสัญลักษณ์ตัวเลข หรือเครื่องหมาย
    15. ต้องมีการเตรียมความพร้อมในการเรียนคณิตศาสตร์
 
 
  • งานที่ได้รับมอบหมาย
       -ทำ Mind mapแตกสาระการสอนคณิตศาสตร์ปฐมวัย เป็นกลุ่ม กลุ่มละ 5 คน หน่วยการสอนอะไรได้
 


 

บันทึกการเรียนการสอนครั้งที่9

วันที่ 2 มกราคม 2556


เวลา 08.30-12.20 น
 
 
กิจกรรม
 
- ส่งงาน
 
 







บันทึกการเรียนการสอนครั้งที่8

วันที่ 26 ธันวาคม 2555


เวลา 08.30-12.20 น


ไม่มีการเรียนการสอน
**หมายเหตุ**

สอบกลางภาค

บันทึกการเรียนการสอนครั้งที่7

วันที่ 19 ธันวาคม 2555


เวลา 08.30-12.20 น
 
กิจกรรม
 
-ส่งงานวงกลม
 

-ตัวบ่งชี้(สสวท)
 
1.จำนวน และการดำเนินการ
2.การวัด การใช้เครื่องมือ หาค่าแระปริมาณ
3.เรขาคณิต(ตำแหน่ง ทิศทาง ระยะ)
4.พีชคณิต ความสัมพันธ์
5.การวิเคราะห์ข้อมูล และความน่าจะเป็น
6.ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
 
-มาตรฐาน
- เกณฑ์ในการวัด - การวัดผล
- เกณฑ์การประเมิน - การประเมิน
- คุณภาพ - การเป็นที่ยอมรับ

บันทึกการเรียนการสอนครั้งที่6

วันที่ 12 ธันวาคม 2555


เวลา 08.30-12.20 น
 
กิจกรรม
 
- จับคู่แล้วเดินไปหยิบกล่องที่เหลือใช้มาคนละ 1 กล่อง
 
 












- จากนั้นจับกลุ่ม 10 คน แล้วให้นักศึกษานำกล่องที่ได้ต่อรวมกันเป็นตามจินตนาการ
 

กลุ่มดิฉันประดิษฐ์เป็นหุ่นยนต์ตัวตุ่น
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
-ให้นักศึกษาทั้งห้องวางแผนจัดนิทรรศการหุ่นจำลอง โดยใช้พื้นที่ในห้องเรียน
 
เพื่อนๆช่วยกันเตรียมงาน
 

















เสร็จเรียบร้อย
















อาจาย์แสดงความคิดเห็นและข้อแก้ไข
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
งานที่ได้รับมอบหมาย
 
-ตัดกระดาษลังที่ไม่ใช้แล้ว เส้นผ่าศูนย์กลาง 1 นิ้ว /1.5 นิ้ว /2 นิ้ว อย่างละ 3 สี เขียว เหลือง ชมพู

บันทึกการเรียนการสอนครั้งที่5

วันที่ 5 ธันวาคม 2555


เวลา 08.30-12.20 น



ไม่มีกิจกรรมการเรียนการสอน

**หมายเหตุ**

วันพ่อแห่งชาติ


บันทึกการเรียนการสอนครั้งที่4

วันที่ 28 พฤศจิกายน 2555

 
เวลา 08.30-12.20 น.
 
 
กิจกรรมการเรียนการสอน
 
ขอบข่ายของหลักสูตรคณิตศาสตร์ในระดับปฐมวัยไว้ดังนี้
 
1. การนับ เป็นคณิตศาสตร์เกี่ยวกับตัวเลขอันดับแรกที่เด็กรู้จัก เป็นการนับอย่างมีความหมาย เช่น การนับตามลำดับตั้งแต่ 1ถึง 10 หรือมากกว่านั้น
2. ตัวเลข เป็นการให้เด็กรู้จักตัวเลขที่เห็นหรือใช้อยู่ในชีวิตประจำวัน ให้เด็กเล่นของเล่นเกี่ยว กับตัวเลขให้เด็กได้นับและคิดเอง โดยผู้เลี้ยงดูเด็กเป็นผู้วางแผนจัดกิจกรรม

3. การจับคู่ เป็นการฝึกฝนให้เด็กรู้จักการสังเกต ลักษณะต่างๆ และจับคู่สิ่งที่เข้าคู่กัน เหมือนกันหรือ อยู่ประเภทเดียวกัน

4. การจัดประเภท เป็นการฝึกฝนให้เด็กรู้จักการสังเกตคุณสมบัติของ สิ่งต่างๆ ว่ามีความแตกต่าง หรือเหมือนกัน ในบาง เรื่อง และสามารถจัดเป็นประเภทต่าง ๆ ได้

5.การเปรียบเทียบเด็กจะต้องมีการสืบเสาะและอาศัยความสัมพันธ์ระหว่างของสองสิ่งหรือมากกว่า รู้จักใช้คำศัพท์ เช่น ยาวกว่า สั้นกว่า หนักกว่า เบากว่า

6.การจัดลำดับ เป็นเพียงการจัดสิ่งของชุดหนึ่ง ๆ ตามคำสั่งหรือตามกฎ เช่น จัดบล็อก 5 แท่งที่มีความยาวไม่เท่ากันให้เรียงตามลำดับจากสูงไปต่ำ หรือจากสั่นไปยาง เป็นต้น

7.รูปทรงและเนื้อที่ นอกจากให้เด็กได้เรียนรู้เรื่องรูปทรงและเนื้อที่จากการเล่นตาม ปกติแล้ว ผู้เลี้ยงดูเด็กยังต้องจัดประสบการณ์ให้เด็กได้เรียนรู้ เกี่ยวกับ วงกลม สามเหลี่ยม สี่เหลี่ยมจัตุรัส สี่เหลี่ยมผืนผ้า ความ ลึกตื้น กว้างและแคบ

8.การวัดมักให้เด็กลงมือวัดด้วยตนเอง ให้รู้จักความยาวและ ระยะ รู้จักการชั่งน้ำหนัก และรู้จักการประมาณอย่างคร่าวๆ ก่อน ที่เด็กจะรู้จักการวัด ควรให้เด็กได้ฝึกฝนการเปรียบเทียบและ การจัดลำดับมาก่อน

9. เซต เป็นการสอนเรื่องเซตอย่างง่าย ๆ จากสิ่งรอบ ๆ ตัว มีการเชื่อมโยงกับสภาพรวม เช่น รองเท้ากับถุงเท้าถือเป็นหนึ่งเซต หรือในห้องเรียนมีบุคคลหลายประเภท แยกเป็นเซตได้ 2 เซต คือ นักเรียน ผู้เลี้ยงดูเด็กประจำชั้น เป็นต้น

10.เศษส่วน ปกติการเรียนเศษส่วนมักเริ่มเรียนในชั้นประถม แต่ผู้เลี้ยงดูเด็กปฐมวัยสามารถสอนได้โดยเน้นส่วนรวมให้เด็กเห็นก่อน การลงมือปฏิบัติเพื่อให้เด็กได้เข้าใจความหมายและมีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับครึ่งหรือ ?

11.การทำตามแบบหรือลวดลาย เป็นการพัฒนาให้เด็กจดจำรูปแบบหรือลวดลาย และพัฒนาการจำแนกด้วยสายตาให้เด็กฝึกสังเกต ฝึกทำตามแบบ และต่อให้สมบูรณ์

12. การอนุรักษ์หรือการคงที่ด้านปริมาณ ช่วงวัย 5 ปีขึ้นไป ผู้เลี้ยงดูเด็กอาจเริ่มสอนเรื่องการอนุรักษ์ได้บ้าง โดยให้เด็กได้ลงมือปฏิบัติจริง เพื่อให้เด็กมีความคิดรวบยอดเรื่องการอนุรักษ์ที่ว่า ปริมาณของวัตถุจะยังคงที่ไม่ว่าจะย้ายที่หรือทำให้มีรูปร่างเปลี่ยนไปก็ตาม


บันทึกการเรียนการสอนครั้งที่3

วันที่ 21 พฤศจิกายน 2555

 
เวลา 08.30-12.20 น.

กิจกรรม
จับกลุ่มกลุ่มละ 3คน วิเคราะห์ข้อมูลจากที่ได้รับมอบหมายให้ไปค้นหา ดังนี้

1.สรุปความหมายของคณิตสาสตร์ที่เพื่อนในกลุ่มหามา
2.ทฤษฎีการสอนคณิตศาสตร์
3.ขอบข่ายคณิตศาสตร์
4.หลักการสอนคณิตศาสตร์
 
 

 
 
 

บันทึกการเรียนการสอนครั้งที่2

วันที่ 14 พฤศจิกายน 2555

 


เวลา 08.30-12.20 น.
 


กิจกรรม

- วาดภาพอะไรก็ได้ ใช้แทนสัญลักษณ์ประจำตัว พร้อมเขียนชื่อ - นามสกุล ลงในกระดาษ





- ให้เพื่อนๆที่มาเรียน ก่อน 08.30 น. นำกระดาษที่มี สัญลักษณ์พร้อมชื่อ มาแปะที่กระดาน


 
สิ่งที่เด็กๆได้เรียนรู้ คือ

- การนับจำนวน
- การจำแนกประเภท
- รูปทรง
- รูปร่าง
- ขนาด
- การจัดหมวดหมู่

สัญลักษณ์แทนตัวเลข

1 = เสาธง
2 = คอห่าน
3 = ตัวหนอน
4 = หลังคาบ้าน
5 = แอปเปิ้ลครึ่งลูก
6 = คนตีลังกาเท้าชี้ฟ้า
7 = ไม้เท้า
8 = ไข่ 2 ฟอง
9 = คนยืนตรง

งานที่อาจารย์สั่ง
1. ให้นักศึกษาไปห้องสมุดของมหาวิทยาลัย ค้นหาหนังสือที่เกี่ยวกับ คณิตศาสตร์ เลือกมา 5 เล่ม ให้บอกถึง
- ชื่อหนังสือ
- ผู้แต่ง พศ. รหัสเล่มหนังสือ

2.เลือกหนังสือมา 1 เล่ม เลือกผู้ที่ให้ความหมายมา 1 คน พร้อมอ้างอิง บรรณานุกรม

3. บอกขอบข่าย / เนื้อหาคณิตศาสตร์

4. หลักการสอน คณิตศาสตร์